Author: Mr.Masahiro Taoka, Kaikokai medical corporation, Meiko kyoritsu clinic(Japan)
วัตถุประสงค์
1) เพื่อประสิทธิภาพของการฆ่าเชื้อ : เปลี่ยนเป็นการใช้น้ำยา 2 ชนิด (double agent)
2) เพื่อลดเวลาฆ่าเชื้อ : เปลี่ยนเป็นการใช้น้ำยาฆ่าเชื้อ 1 ชนิดเป็นเวลา 1 วัน
น้ำยาฆ่าเชื้อเซลเลคท์ (Select disinfectant) : คุณลักษณะของน้ำยาฆ่าเชื้อที่ใช้สำหรับสายของเครื่องฟอกไต
ความเสถียรของน้ำยาฆ่าเชื้อกรดเปอร์อะซิติกเจือจาง
สิ่งที่ได้จากกรดเปอร์อะซิติก ?
•กรดเปอร์อะซิติก
การฆ่าเชื้อ (Disinfection), การทำให้ปราศจากเชื้อ (Sterilization)
•กรดอะซิติก
กำจัดคาร์บอเนต
•ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์
ทำให้สารอินทรีย์สลายตัว/กำจัดสารอินทรีย์
ประสิทธิภาพการฆ่าเชื้อของโซเดียมไฮโปคลอไรท์และกรดเปอร์อะซิติก
ค่าการลดลงแบบลอการิทึม (Logarithmic Reduction Value) (20℃×30min)
ประสิทธิภาพของกรดเปอร์อะซิติกต่อสปอร์ของแบคทีเรีย
วิธีทดสอบ
•มีเครื่องจ่ายน้ำยาไตเทียม 2 เครื่องที่เป็นอิสระต่อกันของเครื่องไตเทียมสำหรับ 41 เตียง •เครื่องจ่ายน้ำยาไตเทียมแต่ละเครื่อง ถูกล้างด้วยวิธีการที่แสดงด้านล่าง และประเมินด้วยน้ำ และสิ่งปนเปื้อนในท่อ
Line1. กรดและด่างทั่วไป Common acid and Alkali(Sodium hypochlorite)
Line2. กรดเปอร์อะซิติก Peracetic acid
วิธีการทดสอบ: น้ำยาฆ่าเชื้อและอัตราการเจือจาง
วิธีทดสอบ: กระบวนการทำความสะอาดและฆ่าเชื้อ
Line1. กรดและด่างทั่วไป Common acid and Alkali(Sodium hypochlorite)
จันทร์, พุธ, ศุกร์
อังคาร, พฤหัสบดี, เสาร์
Line2 กรดเปอร์อะซิติก Peracetic acid *เปลี่ยนเป็นการใช้น้ำยาฆ่าเชื้อ 1 ชนิดเป็นเวลา 1 วัน
จันทร์, พุธ,ศุกร์
จันทร์, พุธ,ศุกร์
วิธีการประเมิน
- การวัดสารเอ็นโดทอกซินด้วยหัวอ่าน EG Reader SV-12
- การทดสอบแบคทีเรียสำหรับเครื่องจ่ายน้ำยาไตเทียม การเพาะเชื้อแบคทีเรียด้วย “SensiMedia” เป็นเวลา 7 วัน
- การเช็คด้วยสายตา
- ทำการประเมินจำนวน 10 ตัวอย่างจากแต่ละไลน์
- ระยะเวลาสำรวจ: มกราคม 2007 ~ มิถุนายน 2011
ผลการทดสอบ
ประสิทธิภาพของกรดเปอร์อะซิติก มีดังนี้ :
1.ค่าการวัดสารเอ็นโดทอกซินและการทดสอบแบคทีเรีย พบว่าอยู่ต่ำกว่าค่ามาตรฐานทั้งสองวิธี
ET: ไลน์ 1) 0.085±0.128EU/L:n=1,061 (โซเดียมไฮโปคลอไรท์)
ไลน์ 2)0.075±0.124EU/L:n=782 (กรดเปอร์อะซิติก)
แบคทีเรีย: 1 positive in Line 1 and Line2
2.ไม่มีสิ่งสกปรกในท่อทั้ง 2 วิธี
3.มีเวลาสำหรับการล้างอุปกรณ์ RO เนื่องจากใช้น้ำยาเพียง 1 ชนิด
4.กรดเปอร์อะซิติกราคาแพง แต่สามารถประหยัดน้ำได้เพราะใช้น้ำยาเพียง 1 ชนิด
สรุป
•ในกรดเปอร์อะซิติกมีหลายส่วนประกอบ ซึ่งสามารถเลือกได้ขึ้นอยู่กับการใช้งาน
•ถึงแม้ว่าจะไม่มีประสิทธิภาพชัดเจนในกรณีน้ำยา 2 ชนิด (double agent) แต่ดูจะมีประสิทธิภาพในการป้องกันแบคทีเรีย
•มีประสิทธิภาพต่อการบำรุงรักษาอุปกรณ์ RO สำหรับการล้างไตในตอนกลางคืน